วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ICT กับ โทรศัพท์

(รอกันมานานหลังกับนโยบายICT กับMOU TOT3G MYbyCAT) นักวิเคราะห์คาด Roaming rate ของTOTและCATอยู่เพียง 0.35 บาท/นาที




ประเด็นหลัก




ขณะที่ บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส(ประเทศไทย)ระบุในบทวิเคราะห์ฯแนะ"ซื้อ" ADVANC ห้ราคาเป้าหมายที่อิงกับวิธี DCF ไว้ที่ 335 บาท/หุ้น ปัจจัยหลักที่จะขับเคลื่อนราคาหุ้นในระยะสั้น คือ การโอนย้ายลูกค้าจำนวนมากไปยังเครือข่าย 3G ของบริษัท ซึ่งที่ผ่านทำได้ดีมาก

ความเสี่ยงในการดำเนินงานอยู่ในระดับต่ำ หลังจากที่ ADVANC ได้เปิดตัวบริการเครือข่าย 3G บนคลื่นความถี่ 2.1GHz พบว่าลูกค้ามีความประทับใจการโอนย้ายลูกค้าไปยังเครือข่ายใหม่ 3G ที่รวดเร็วของบริษัท และดูเหมือนว่าไม่มีความกังวลใด ๆ เกี่ยวกับความเสี่ยงจากการดำเนินงาน (Executive Risk) อีกต่อไป

เช่นเดียวกับความกังวลต่อความเสี่ยงด้านกฎเกณฑ์ต่างๆ (Regulatory risk) ก็ลดลงอย่างมากแล้ว ความเสี่ยงเชิงบวก คือ อัตราการขอใช้บริการข้ามเครือข่าย หรือ Roaming rate ระหว่าง TrueMove และ TrueMove-H ยังคงอยู่ในระดับต่ำ และ DTAC ก็น่าจะกำหนดอัตราดังกล่าวในระดับต่ำเช่นกัน ขณะที่ Roaming rate ของ TOT และ CAT อยู่ที่เพียง 0.35 บาท/นาที จึงคาดว่า ADVANC จะลด Roaming rate สำหรับเครือข่าย 3G ลงในปี 57





______________________________________





ADVANC บวก 1.52% รีบาวด์หลังราคาลงไปมาก-โอนลูกค้าใช้ 3G ช่วยขับเคลื่อน


หุ้น ADVANC ราคาขยับขึ้น 1.52% มาอยู่ที่ 267 บาท เพิ่มขึ้น 4 บาท มูลค่าซื้อขาย 315.77 ล้านบาท เมื่อเวลา 10.13 น. โดยเปิดตลาดที่ 264 บาท ราคาปรับตัวขึ้นสูงสุดที่ 268 บาท และราคาปรับตัวลงต่ำสุดที่ 263 บาท

บล.เมย์แบงก์กิมเอ็ง แนะ “ทยอยสะสม”หุ้น บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส(ADVANC) ราคาเหมาะสม 280.00 บาท  โดยมองว่าราคาหุ้น ADVANC ที่ปรับตัวลงถึง 4.7% ในวันศุกร์ที่ผ่านมา เกิดจากผลกระทบเชิงลบเพียงชั่วคราว เนื่องจากเป็นหุ้นที่ถูกดัชนี MSCI ลดน้ำหนักการลงทุนลง ขณะที่ยังคงมุมมองเชิงบวกต่อการเติบโตในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเริ่มทยอยโอนลูกค้าจาก 2G มา 3G ตั้งแต่เม.ย.จะส่งผลให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมลดลงมากจากเดิมที่เฉลี่ยราว 20-22% เหลือเพียง 5.25%


ทั้งนี้ คาดว่า ADVANC จะโอนย้ายฐานลูกค้ามายังระบบ 3G ได้ราว 8.6 ล้านรายในปีนี้ และต้นทุนค่าธรรมเนียมที่ลดลงจะเพียงพอเพื่อชดเชยค่าเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนครั้งใหม่ภายใต้ระบบ 3G และส่งผลให้กำไรสุทธิปี 2556 เติบโต +12.5% yoy เป็น 39,268 ล้านบาท และต่อเนื่อง +23.2% yoy เป็น 48,385 ล้านบาท ในปี 2557

รวมทั้ง ให้ผลตอบแทนจากเงินปันผลในเกณฑ์ดี โดยคาดว่าจะจ่ายเงินปันผลปี 2556 หุ้นละ 12.56 บาท คิดเป็นผลตอบแทนจากเงินปันผล 4.8%

ขณะที่ บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส(ประเทศไทย)ระบุในบทวิเคราะห์ฯแนะ"ซื้อ" ADVANC ห้ราคาเป้าหมายที่อิงกับวิธี DCF ไว้ที่ 335 บาท/หุ้น ปัจจัยหลักที่จะขับเคลื่อนราคาหุ้นในระยะสั้น คือ การโอนย้ายลูกค้าจำนวนมากไปยังเครือข่าย 3G ของบริษัท ซึ่งที่ผ่านทำได้ดีมาก

ความเสี่ยงในการดำเนินงานอยู่ในระดับต่ำ หลังจากที่ ADVANC ได้เปิดตัวบริการเครือข่าย 3G บนคลื่นความถี่ 2.1GHz พบว่าลูกค้ามีความประทับใจการโอนย้ายลูกค้าไปยังเครือข่ายใหม่ 3G ที่รวดเร็วของบริษัท และดูเหมือนว่าไม่มีความกังวลใด ๆ เกี่ยวกับความเสี่ยงจากการดำเนินงาน (Executive Risk) อีกต่อไป

เช่นเดียวกับความกังวลต่อความเสี่ยงด้านกฎเกณฑ์ต่างๆ (Regulatory risk) ก็ลดลงอย่างมากแล้ว ความเสี่ยงเชิงบวก คือ อัตราการขอใช้บริการข้ามเครือข่าย หรือ Roaming rate ระหว่าง TrueMove และ TrueMove-H ยังคงอยู่ในระดับต่ำ และ DTAC ก็น่าจะกำหนดอัตราดังกล่าวในระดับต่ำเช่นกัน ขณะที่ Roaming rate ของ TOT และ CAT อยู่ที่เพียง 0.35 บาท/นาที จึงคาดว่า ADVANC จะลด Roaming rate สำหรับเครือข่าย 3G ลงในปี 57

อินโฟเควสท์
http://www.ryt9.com/s/iq05/1663140

___________________________



ADVANC รีบาวด์หลังราคาลงไปมาก โอนลูกค้าใช้ 3G ช่วยขับเคลื่อน ยีลด์ปันผลดี


ผู้สื่อข่าวรายงานราคาหุ้น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ ADVANC ณ เวลา 10.47 น. บวก 5 บาท หรือ 1.90% มาที่ 268 บาท ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่นที่ 619.49 ล้านบาท ขณะที่ดัชนีตลาดหุ้นไทยโดยรวมลบ 0.18% ทั้งนี้ ราคาหุ้น ADVANC อ่อนตัวลงแรงจากระดับราคา 281 บาท ในวันที่ 29 พ.ค. มาแตะที่ระดับราคา 263 บาท ในวันที่ 31 พ.ค. ก่อนจะรีบาวด์ขึ้นมาแตะที่ระดับราคา 266 บาท ในวันนี้ (RSI=45.11) จากข้อมูล www.sttrade.com ระบุว่า บริษัทหลักทรัพย์ (บล.) 5 แห่ง แนะนำ “ซื้อ” ADVANC จำนวน 6 แห่ง แนะนำ “ถือ” และอีก 5 แห่ง แนะนำ “ขาย” โดยให้ราคาเป้าหมายเฉลี่ยที่ 257 บาท ซึ่งปัจจุบันราคาหุ้น ADVANC เทรดที่ P/E 21.79 เท่า และ P/BV 20.36 เท่า

บล.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ระบุในบทวิเคราะห์วันนี้ (3 มิ.ย.) ว่า แนะนำ “ทยอยสะสม” หุ้น ADVANC โดยให้ราคาเหมาะสมที่ 280 บาท เนื่องจากราคาหุ้น ADVANC ที่ปรับตัวลงถึง 4.7% ในวันศุกร์ที่ผ่านมา เกิดจากผลกระทบเชิงลบเพียงชั่วคราว เนื่องจากเป็นหุ้นที่ถูกดัชนี MSCI ลดน้ำหนักการลงทุนลง และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 31 พ.ค.

ขณะที่ เรายังคงมุมมองเชิงบวกต่อการเติบโตในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเริ่มทยอยโอนลูกค้าจากระบบ 2G มายัง 3G ตั้งแต่เดือน เม.ย.ที่ผ่านมา จะส่งผลให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมลดลงอย่างมากจากเดิมที่เฉลี่ยราว 20-22% เหลือเพียง 5.25% โดยเราคาดว่า ADVANC จะโอนย้ายฐานลูกค้ามายังระบบ 3G ได้ประมาณ 8.6 ล้านรายในปีนี้ และต้นทุนค่าธรรมเนียมที่ลดลงจะเพียงพอเพื่อชดเชยค่าเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนครั้งใหม่ภายใต้ระบบ 3G และส่งผลให้กำไรสุทธิปี 56 เติบโต 12.5% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็น 39,268 ล้านบาท และต่อเนื่อง 23.2% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็น 48,385 ล้านบาท ในปี 57

รวมทั้ง ให้ผลตอบแทนจากเงินปันผลในเกณฑ์ดี โดยคาดว่าจะจ่ายเงินปันผลปี 56 หุ้นละ 12.56 บาท คิดเป็นผลตอบแทนจากเงินปันผล 4.8%

ด้าน บล.โกลเบล็ก ระบุในบทวิเคราะห์วันนี้ (3 มิ.ย.) ว่า ราคาหุ้น ADVANC มีการสร้างจุดต่ำสุดใหม่จากแท่งเทียนก่อนหน้าอีกทั้งวอลุ่มการซื้อขายที่เพิ่มขึ้นบ่งชี้ถึงแรงขายที่มา และเกิดสัญญาณ Dead Cross ระหว่างเส้นค่าเฉลี่ย 5 วันและ 10 วันแนะนำให้ขายออก เพื่อลดสถานะ

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

IPv4- IPv6
จากหมายเลข IP ที่ยกตัวอย่างไปด้านบน เราเรียกว่า IPv4 ครับ โดยจะเป็นหมายเลขที่มีทั้งหมด 32 บิต (แต่ละช่วงเว้นวรรคด้วย . ) แบ่งเป็นช่วงละ 8 บิต โดยตัวเลข 8 นี้ก็จะมีค่าตั้งแต่ 0 – 255 ครับ ดังนั้น IPv4 จึงมีหมายเลขได้ตั่งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 แต่ก็ใช่ว่าทุกตัวจะใช้ได้หมดนะครับ เพราะจะมีบางหมายเลขที่ถูกเก็บไว้ใช้งานเฉพาะ
IPv4 ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น Class ชนิดต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ในการใช้งานที่ต่างกันไป ดังนี้ครับ
1.    คลาส A เริ่มตั้งแต่ 1.0.0.1 ถึง 127.255.255.254
2.    คลาส B เริ่มตั้งแต่ 128.0.0.1 ถึง 191.255.255.254
3.    คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.0.1.1 ถึง 223.255.254.254
4.    คลาส D เริ่มตั้งแต่ 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 ใช้สำหรับงาน multicast
5.    คลาส E เริ่มตั้งแต่ 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.254 ถูกสำรองไว้ ยังไม่มีการใช้งาน
สำหรับไอพีในช่วง 127.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 ใช้สำหรับการทดสอบระบบ
แต่หมายเลข IP ด้านบนนี้ก็ยังถูกแบ่งออกเป็นอีก 2 ประเภทคือ IP ส่วนตัว (Private IP) และ IP สาธารณะ (Publish IP)
โดย IP ส่วนตัวมีไว้สำหรับใช้งานภายในองค์กรเท่านั้น ได้แก่
1.    ไอพีส่วนตัว คลาส A เริ่มตั้งแต่ 10.0.0.0 ถึง 10.255.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.0.0.0 ขึ้นไป
2.    ไอพีส่วนตัว คลาส B เริ่มตั้งแต่ 172.16.0.0 ถึง 172.31.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.240.0.0 ขึ้นไป
3.    ไอพีส่วนตัว คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.168.0.0 ถึง 192.168.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.255.0.0 ขึ้นไป
ไอพีส่วนตัวข้างต้นถูกกำหนดให้ไม่สามารถนำไปใช้งานในเครือข่ายสาธารณะ (Internet)
ส่วน IP สาธารณะมีไว้สำหรับให้แต่ละองค์กร หรือแต่ละบุคคลใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าหากัน
จากช่วงของ IPv4 ตั้งแต่ 1.1.1.1 ถึง 255.255.255.255 ถ้าคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องใช้หนึ่งหมายเลข เช่น เครื่องผมใช้ 1.1.1.1 เครื่องที่สองใช้ 1.1.1.2 เราก็จะประมาณได้ว่าเราจะมีคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงอยู่ในระบบเครือข่ายได้ทั้งหมดประมาณ 232 เครื่องครับ ซึ่งเป็นตัวเลขที่เยอะมาก แต่ก็ยังเยอะไม่พอ เพราะว่า IPv4 ที่แจกจ่ายให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกได้กำลังจะหมดลงไปแล้ว
แล้วเราจะทำอย่างไรดี ถ้าเราซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาแล้วไม่มี IP ให้เราใช้ล่ะ วิธีการที่นักคอมพิวเตอร์แก้ไขก็คือการกำหนดหมายเลข IP ใหม่ขึ้นมาครับ โดย IP ใหม่นี้ถูกเรียกว่า IPv6 (Internet Protocol version 6) ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน IP โดย IPv6 นี้ใช้ระบบเลข 128 บิต ดังนั้นจึงมีจำนวน IP ได้มากสุดถึง 2128 หมายเลขครับ เยอะมากที่จะพอให้มนุษย์บนโลกนี้ใช้ได้ไปอีกนานเลยทีเดียว
zเมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต คงจะเคยเห็นตัวเลขแปลกๆ เช่น 127.0.0.1 หรือ 192.168.1.1 หรือจำนวนอื่นๆ ตัวเลขเหล่านี้คืออะไรกัน   ตัวเลขเหล่านี้คือหมายเลข IP ประจำเครื่องครับ โดย IP ก็ย่อมาจากคำว่า Internet Protocol หน้าที่ของเจ้าเลขพวกนี้ก็คือ เป็นหลายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่าย เป็นหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา  จากหมายเลข IP ที่ยกตัวอย่างไปด้านบน เราเรียกว่า IPv4 ครับ โดยจะเป็นหมายเลขที่มีทั้งหมด 32 บิต (แต่ละช่วงเว้นวรรคด้วย . ) แบ่งเป็นช่วงละ 8 บิต โดยตัวเลข 8 นี้ก็จะมีค่าตั้งแต่ 0 – 255 ครับ ดังนั้น IPv4 จึงมีหมายเลขได้ตั่งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 แต่ก็ใช่ว่าทุกตัวจะใช้ได้หมดนะครับ เพราะจะมีบางหมายเลขที่ถูกเก็บไว้ใช้งานเฉพาะ
จากหมายเลข IP ที่ยกตัวอย่างไปด้านบน เราเรียกว่า IPv4 ครับ โดยจะเป็นหมายเลขที่มีทั้งหมด 32 บิต (แต่ละช่วงเว้นวรรคด้วย . ) แบ่งเป็นช่วงละ 8 บิต โดยตัวเลข 8 นี้ก็จะมีค่าตั้งแต่ 0 – 255 ครับ ดังนั้น IPv4 จึงมีหมายเลขได้ตั่งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 แต่ก็ใช่ว่าทุกตัวจะใช้ได้หมดนะครับ เพราะจะมีบางหมายเลขที่ถูกเก็บไว้ใช้งานเฉพาะ
IPv4 ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น Class ชนิดต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ในการใช้งานที่ต่างกันไป ดังนี้ครับ
1.    คลาส A เริ่มตั้งแต่ 1.0.0.1 ถึง 127.255.255.254
2.    คลาส B เริ่มตั้งแต่ 128.0.0.1 ถึง 191.255.255.254
3.    คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.0.1.1 ถึง 223.255.254.254
4.    คลาส D เริ่มตั้งแต่ 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 ใช้สำหรับงาน multicast
5.    คลาส E เริ่มตั้งแต่ 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.254 ถูกสำรองไว้ ยังไม่มีการใช้งาน
สำหรับไอพีในช่วง 127.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 ใช้สำหรับการทดสอบระบบ
แต่หมายเลข IP ด้านบนนี้ก็ยังถูกแบ่งออกเป็นอีก 2 ประเภทคือ IP ส่วนตัว (Private IP) และ IP สาธารณะ (Publish IP)
โดย IP ส่วนตัวมีไว้สำหรับใช้งานภายในองค์กรเท่านั้น ได้แก่
1.    ไอพีส่วนตัว คลาส A เริ่มตั้งแต่ 10.0.0.0 ถึง 10.255.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.0.0.0 ขึ้นไป
2.    ไอพีส่วนตัว คลาส B เริ่มตั้งแต่ 172.16.0.0 ถึง 172.31.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.240.0.0 ขึ้นไป
3.    ไอพีส่วนตัว คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.168.0.0 ถึง 192.168.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.255.0.0 ขึ้นไป
ไอพีส่วนตัวข้างต้นถูกกำหนดให้ไม่สามารถนำไปใช้งานในเครือข่ายสาธารณะ (Internet)
ส่วน IP สาธารณะมีไว้สำหรับให้แต่ละองค์กร หรือแต่ละบุคคลใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าหากัน
จากช่วงของ IPv4 ตั้งแต่ 1.1.1.1 ถึง 255.255.255.255 ถ้าคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องใช้หนึ่งหมายเลข เช่น เครื่องผมใช้ 1.1.1.1 เครื่องที่สองใช้ 1.1.1.2 เราก็จะประมาณได้ว่าเราจะมีคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงอยู่ในระบบเครือข่ายได้ทั้งหมดประมาณ 232 เครื่องครับ ซึ่งเป็นตัวเลขที่เยอะมาก แต่ก็ยังเยอะไม่พอ เพราะว่า IPv4 ที่แจกจ่ายให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกได้กำลังจะหมดลงไปแล้ว
แล้วเราจะทำอย่างไรดี ถ้าเราซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาแล้วไม่มี IP ให้เราใช้ล่ะ วิธีการที่นักคอมพิวเตอร์แก้ไขก็คือการกำหนดหมายเลข IP ใหม่ขึ้นมาครับ โดย IP ใหม่นี้ถูกเรียกว่า IPv6 (Internet Protocol version 6) ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน IP โดย IPv6 นี้ใช้ระบบเลข 128 บิต ดังนั้นจึงมีจำนวน IP ได้มากสุดถึง 2128 หมายเลขครับ เยอะมากที่จะพอให้มนุษย์บนโลกนี้ใช้ได้ไปอีกนานเลยทีเดียว
 ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น Class ชนิดต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ในการใช้งานที่ต่างกันไป ดังนี้ครับ
1.    คลาส A เริ่มตั้งแต่ 1.0.0.1 ถึง 127.255.255.254
2.    คลาส B เริ่มตั้งแต่ 128.0.0.1 ถึง 191.255.255.254
3.    คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.0.1.1 ถึง 223.255.254.254
4.    คลาส D เริ่มตั้งแต่ 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 ใช้สำหรับงาน multicast
5.    คลาส E เริ่มตั้งแต่ 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.254 ถูกสำรองไว้ ยังไม่มีการใช้งาน
สำหรับไอพีในช่วง 127.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 ใช้สำหรับการทดสอบระบบ
แต่หมายเลข IP ด้านบนนี้ก็ยังถูกแบ่งออกเป็นอีก 2 ประเภทคือ IP ส่วนตัว (Private IP) และ IP สาธารณะ (Publish IP)
โดย IP ส่วนตัวมีไว้สำหรับใช้งานภายในองค์กรเท่านั้น ได้แก่
1.    ไอพีส่วนตัว คลาส A เริ่มตั้งแต่ 10.0.0.0 ถึง 10.255.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.0.0.0 ขึ้นไป
2.    ไอพีส่วนตัว คลาส B เริ่มตั้งแต่ 172.16.0.0 ถึง 172.31.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.240.0.0 ขึ้นไป
3.    ไอพีส่วนตัว คลาส C เริ่มตั้งแต่ 192.168.0.0 ถึง 192.168.255.255 สับเน็ตมาสต์ที่ใช้ได้ เริ่มตั้งแต่ 255.255.0.0 ขึ้นไป
ไอพีส่วนตัวข้างต้นถูกกำหนดให้ไม่สามารถนำไปใช้งานในเครือข่ายสาธารณะ (Internet)
ส่วน IP สาธารณะมีไว้สำหรับให้แต่ละองค์กร หรือแต่ละบุคคลใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าหากัน
จากช่วงของ IPv4 ตั้งแต่ 1.1.1.1 ถึง 255.255.255.255 ถ้าคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องใช้หนึ่งหมายเลข เช่น เครื่องผมใช้ 1.1.1.1 เครื่องที่สองใช้ 1.1.1.2 เราก็จะประมาณได้ว่าเราจะมีคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงอยู่ในระบบเครือข่ายได้ทั้งหมดประมาณ 232 เครื่องครับ ซึ่งเป็นตัวเลขที่เยอะมาก แต่ก็ยังเยอะไม่พอ เพราะว่า IPv4 ที่แจกจ่ายให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกได้กำลังจะหมดลงไปแล้ว
แล้วเราจะทำอย่างไรดี ถ้าเราซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาแล้วไม่มี IP ให้เราใช้ล่ะ วิธีการที่นักคอมพิวเตอร์แก้ไขก็คือการกำหนดหมายเลข IP ใหม่ขึ้นมาครับ โดย IP ใหม่นี้ถูกเรียกว่า IPv6 (Internet Protocol version 6) ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน IP โดย IPv6 นี้ใช้ระบบเลข 128 บิต ดังนั้นจึงมีจำนวน IP ได้มากสุดถึง 2128 หมายเลขครับ เยอะมากที่จะพอให้มนุษย์บนโลกนี้ใช้ได้ไปอีกนานเลยทีเดียว